วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

สังคม

          โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โครงสร้าง ของสังคม เปรียบได้กับบ้านเรือนที่เราอาศัยอยู่อย่าง สมบูรณ์ ประกอบด้วย โครงสร้างที่สำคัญหลายอย่าง เช่น คาน หลังคา พื้น ฝา ประตู หน้าต่าง เป็นต้น โครงสร้างของสังคมก็เช่นเดียวกัน ย่อมประกอบด้ว  อ่านต่อ

พลเมืองดี

          พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิและเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านต่อ

การจัดระเบียบสังคม

             การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านต่อ

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากสภาพสังคมแบบโบราณกลายเป็นสังคมสมัยใหม่ อ่านต่อ

ปัญหาสังคม

          คำว่า “สังคม” หมายถึง “ระบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในสังคม” ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงปัญหาสังคมจึงควรเริ่มต้นด้วยการศึกษาความหมายของคำว่า “ปัญหาสังคม” ซึ่ง Goid Garry และ Frand R. Scarpitti กล่าวว่า “ปัญหาสังคม คือ สภาวการณ์ที่มีผลกระทบต่อประชาชนส่วนใหญ่ประชาชนมองเห็นว่าสภาวการณ์นั้นเป็นสิ่งไม่ต้องการให้เกิดขึ้นและเห็นว่าสามารถจะแก้ไขได้ด้วยการกระทำร่วมกัน อ่านต่อ

วัฒนธรรม

           วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ค อ่านต่อ 

การเลือกรัับวัฒนธรรม

        ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทยกับนานาชาติมีมาช้านาน เนื่องจากไทยมีการติดต่อสัมพันธ์กับนานาชาติตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยเฉพาะจีนและอินเดียเป็นสองชาติแรกที่มีการติดต่อค้าขายกับไทย จึงทำให้ไทยได้รับวัฒนธรรมทั้งด้านภาษา ศาสนา และความเชื่อ ต่อมาเมื่อมีการติดต่อกับชาติตะวันตก ไทยจึงได้รับวิทยาการทางเทคโนโลยีจากชนชาติตะวันตก  อ่านต่อ



คุณลักษณะพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

          คุณลักษณะพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลกที่สำคัญ คือ การเคารพกฎหมายและกติกาสังคม การเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น มีเหตุผล รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และสิ่งแวดล้อม รวมถึงการมีคุณธรรมจริยธรรมเป็นหลักในการดำเนินชีวิต หากประเทศชาติและสังคมโลกของเรา มีพลเมืองที่ดีมีคุณลักษณะเช่นนี้ ก็จะก่อให้เกิดความสงบสุข  อ่านต่อ

รัฐ

           รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้รับการรับรองเหล่านี้ มักจะพบว่าตนประสบอุปสรรคในการเจรจาสนธิสัญญากับต่างประเทศและดำเนินกิจการทางการทูตกับรัฐอื่น อ่านต่อ





การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ

           กระบวนการในการตรวจสอบการใช้อำนาจที่สำคัญในระบบรัฐสภาคือ “การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยฝ่ายนิติบัญญัติ” ซึ่งมาจากหลักการการแบ่งแยกอำนาจที่มองเตสกิเออร์ได้กล่าวไว้ว่า “ถ้าอำนาจนิติบัญญัติ และอำนาจบริหารรวมอยู่ที่คนคนเดียว องค์กรเดียว หรือเจ้าหน้าที่เดียว เสรีภาพก็ไม่อาจมีได้เลย เพราะกษัตริย์หรอรัฐสภาเดียวกัน อาจสร้างกฎหมายนั้นกดขี่ ข่มเหงประชาชน” ในทำนองเดียวกัน “เสรีภาพไม่หลงเหลืออยู่เช่นกัน ถ้าอำนาจตุลาการไม่แยกออกจากอำนาจนิติบัญญัติลำอำนาจบริหาร อ่านต่อ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว

                   กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว   กฎหมายแพ่งเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเอกชนหรือคนแต่ละคน ทั้งเมื่อยู่ตามลำพัง และเมื่อติดต่อกับผู้อื่น ดังจะเห็นได้จากเนื้อหาของกฎหมายแพ่งของไทย ซึ่งมีรวบรวมไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่ามีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องของบุคคล ครอบครัว ทรัพย์สิน นิติกรรม และสัญญา ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน อ่านต่อ







ข้อตกลงระหว่างประเทศ

               กฎหมายระหว่างประเทศเป็นหลักกฎหมายหรือข้อตกลงร่วมกันที่ใช้บังคับกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศเริ่มต้นตั้งแต่สมัยโบราณก่อนคริสต์กาล นับตั้งแต่มนุษย์เริ่มรวมตัวเป็นชุมชนสืบต่อมาในสมัยกลาง สมัยใหม่จนถึงสมัยปัจจุบัน โดยเริ่มจากการปฏิบัติต่อกันจนกลายเป็นจารีตประเพณี สนธิสัญญา และแนวคิดในการจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศ 

สิทธิมนุษยชน (Human Right)

             สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ อ่านต่อ

การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

           การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ  ผลดีของความร่วมมือระหว่างประเทศ  ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศก่อให้เกิดสันติภาพและความเป็นธรรม เกิดการช่วยเหลือ พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การแลกเปลี่ยนวัตถุดิบ เงินลงทุน เทคโนโลยีต่าง ๆ มากขึ้น อ่านต่อ






การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

            ในยุคโลกาภิวัตน์ประเทศต่าง ๆ ต้องประสานประโยชน์และพึ่งพากันอย่างเป็นระบบ จึงต้องรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และปัจจุบันเป็นโลกไร้พรมแดนมีการซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต มีเครือข่ายโยงถึงกันได้สะดวกรวดเร็ว ทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจไทยและโลก แต่ทุกประเทศมีปัญหาเศรษฐกิจแตกต่างกัน ประเทศไทยก็มีปัญหาเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ทุกฝ่ายต้องร่วมกันแก้ไขปัญหา อ่านต่อ